1 กุมภาพันธ์ 2562 :
โรงเรียนพนัสพิทยาคาร :
ก้าวไปด้วยใจมั่น
สู่ฝันอย่างมั่นคง
-
บทเรียนชีวิต ลิขิตอนา่คต
9 มกราคม 2560 : โรงเรียนไร่ขิงวิทยา : เรียนรู้ร่วมสมัยแบบคนไทย 4.0
สาะระบรรยาย
สุ่ม ข้อสอบ
เราอยู่จุดไหน
ข้อสอบในโรงเรียนวัดอะไร
ข้อสอบของ สมศ.วัดอะไร
ข้อสอบสังคม วัดอะไร
ข้อสอบชีวิต หัวใจ ความรัก วัดอะไร
ประท้วงการสอน
ทำไมเราเป็นแบบนี้
อุปสรรคการเรียนรู้ของนักเรียนไทย
เรียนตามเพื่อนหรือตามกระแส
เรียนสาขาที่อยากได้เงินเยอะ
เรียนกวดวิชาอย่างหนัก
เรียนเพื่อสอบไม่ใช่เพื่อรู้
เรียนในชั้นปกติไม่เข้าใจ
เราควรเป็นผู้ใหญ่แบบไหน ในอีก 4 ปีข้างหน้า

เราจะก้าวข้ามหลุมโง่ หรือ ขึ้นมาจากหลุมโง่ ได้อย่างไร
วิเคราะห์การตอบ
*******************************************************
24 ธันวาคม 2559
โรงเรียนสรรพวิทยาคม อ.แม่สอด จ.ตาก
การใช้ DLIT เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน โดย ครูระพีร์ ปิยจันทร์
แบบสอบถามก่อนการอบรม ประท้วงการสอน dlthailand ppt dlit fac sheet
DLIT : เครื่องทุ่นแรงครูที่ทรงประสิทธิภาพ (60 นาที)
DLIT คลังสื่อการสอน คลังข้อสอบ รหัสคลังข้อสอบ คู่มือโรงเรียน
DLTV TEPE แหล่งนวัตกรรม ห้องสมุดดิจิตอล ดิจิตอลคอนเท็นท์ (กำลังเริ่มต้น)
DLIT : เครื่องมือ พัฒนาผู้เรียนทุกระดับสติปัญญา ด้อย ดี เด่น (60 นาที)
DLIT : แนวทาง สู่การพัฒนาวิชาชีพ ( 60 นาที)
DLIT : รูปแบบการสอน สะท้อนในแผน ( 60 นาที)
DLIT : นำเสนอและประเมินผล : การใช้ DLIT เพื่อการเรียนการสอน (90 นาที)
ประเมินผลการอบรมปฏิบัติการ (30 นาที)
อาจมีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม
—————————————
22 พฤศจิกายน 2559
โรงเรียนวังน้ำเย็นวิทยาคม : ศึกษาดูงาน :
การสอนภาษาไทยแบบมุ่งพัฒนาทักษะ
ประเด็น : แลกเปลี่ยนเรียนรู้ : กำหนดการ
ร่องรอยการอ่าน คิดวิเคราะห์ สู่ การพูด การเขียน การแสดงออก และการสร้างคำถามเพื่อประเมินพัฒนาการอ่าน
หัวข้อศึกษาดูงาน :การพัฒนาทักษะภาษาไทยโดยใช้การอ่านเป็นฐาน
ทำไมต้องเริ่มต้นที่การอ่าน
ทำไมเด็กไทยไม่ชอบอ่านหนังสือ
การทำร่องรอยการอ่าน (วิจัยหน้าเดียว) ทดลองทำร่องรอยการอ่าน Dear America
การพัฒนาทักษะภาษาไทยโดยใช้การอ่านเป็นฐานในชั้นเรียน
วิดีทัศน์ การสอนภาษาไทยแบบมุ่งพัฒนาทักษะ
วิดีทัศน์ ภาษาไทยกับ ICT
DLIT คลังสื่อการสอน คลังข้อสอบ รหัสคลังข้อสอบ คู่มือโรงเรียน
DLTV TEPE แหล่งนวัตกรรม ห้องสมุดดิจิตอล ดิจิตอลคอนเท็นท์ (กำลังเริ่มต้น)
—————————————————
การสอนภาษาไทยแบบมุ่งพัฒนาทักษะ
6 ตุลาคม 2559 : อยุธยาวิทยาลัย : ผลการอบรม
ข้อมูลผู้ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับครูระพีร์
1. สำรวจการสอน / อุปสรรคการสอน / วิเคราะห์สาเหตุ
ประท้วงการสอน
2. สะท้อนผลผลิต
(เขียน)ความรู้สึกสำเร็จที่สุดในการสอนในห้องเรียน ยกตัวอย่าง/เหตุผลประกอบ
3. กำหนดทิศพัฒนา
กำหนดทิศพัฒนา
4. ศึกษาสภาพการณ์
ประเมินทักษะก่อนการพัฒนา /ทักษะพื้นฐานที่เป็นเครื่องมือการเรียนรู้
ken_robinson_en ken_robinson_th
สภาพปัญหาการเรียนรู้ในภาพรวมของโรงเรียนแต่ละบริบท
ปัจจัยความสำเร็จและความล้มเหลว
5. ผสมผสานรวมใจ
ทำในขอบเขตที่ทำได้ ทำเท่าที่มือเอื้อมถึง ยิ่งทำยิ่งได้ ยิ่งให้ยิ่งมี
การพัฒนา ทั้งห้อง ทั้งชั้น ทั้งระดับ ทั้งโรงเรียน ทั้งจังหวัด (โมเดลของจังหวัด)
6ยุทธศาสตร์ 6 จุดเน้น /เราต้นในห้องเรียน จุดไหน อย่างไร
6. ก้าวไปอย่างมั่นคง /พร้อมใจกันทำ พร้อมใจกันเริ่ม
แหล่งเรียนรู้
DLIT คลังสื่อการสอน คลังข้อสอบ รหัสคลังข้อสอบ คู่มือโรงเรียน
DLTV
TEPE
แหล่งนวัตกรรม ห้องสมุดดิจิตอล ดิจิตอลคอนเท็นท์ (กำลังเริ่มต้น)
7. สมประสงค์ด้วยมือครู
ฝีมือครู สูตรการสอนหรือรูปแบบการสอน
มือุถือในมือครู ICTในชั้นเรียน
สอนด้วยหัวใจ…พัฒนาเด็กไทย…ให้ถูกทาง
**************************************
28 มีนาคม 2559
นักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา จำนวน 75 คน
โครงการสัมมนา กำหนดการสัมมนา
สาระสัมมนา :
การสอนภาษาไทยแบบมุ่งพัฒนาทักษะ
ทักษะที่ผู้เรียนต้องได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
ขั้นตอนการสอนภาษาไทยแบบมุ่งพัฒนาทักษะ
ปัญหาที่พบในการสอนภาษาไทยแบบมุ่งพัฒนาทักษะ
ผลสัมฤทธิ์ที่เกิดขึ้นจากการสอนภาษาไทยแบบมุ่งพัฒนาทักษะ
**********************************
ครูแนะแนวจังหวัดอ่างทอง จำนวน 30 คน : วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2559 โรงเรียนโพธิ์ทอง “จินดามณี”
แบบสำรวจข้อมูลผู้เข้าอบรม
บุคลิกภาพของครูแนะแนวต่อผู้เรียน
1. ความสำคัญครูแนะแนว
การก้าวเข้าสู่วิชาชีพครูได้นั้นแสดงว่าผู้เข้ารับการอบรมเป็นผู้มีความรู้ความสามารถ เพียงพอที่จะปฏิบัติหน้าที่ตามวุฒิการศึกษาและวิชาเอกเพื่อพัฒนาเด็กหรือเยาวชนที่อยู่ในความรับผิดชอบให้เติบโตเป็นพลเมืองดีของสังคมและประเทศชาติ ครูทุกท่านมีบทบาทหน้าที่แตกต่างกันไปตามสาขาวิชาที่สอน แต่สิ่งหนึ่งที่ ต้องทำเหมือนกันคือ การสั่งสอนด้านเนื้อหา การพัฒนาด้านอารมณ์ สังคม และสติปัญญาตามความแตกต่างของแต่ละคน ตลอดจนการหล่อหลอมลักษณะนิสัยและทักษะชีวิตให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ที่พร้อมนำไปประยุกต์ใช้ได้โดยอัตโนมัติ ซึ่งถือเป็นหน้าที่ของครูทุกวิชา
การพัฒนาผู้เรียนในรายวิชาต่างๆ เป็นไปตามธรรมชาติ กระบวนการและรูปแบบการเรียนรู้ที่ออกแบบโดยครูผู้สอนแต่ละระดับตามหลักสูตรสถานศึกษา ด้วยมาตรฐาน ตัวชี้วัด และงานนอกเหนือการสอนที่ครูต้องรับผิดชอบส่งผลให้ครูมีเวลาไม่มากพอ หรือไม่เหลือเวลาที่จะดูแลผู้เรียนในประเด็นที่นอกเหนือสาระการเรียนรู้ ส่งผลให้นักเรียนขาดโอกาสในการได้รับคำแนะนำทั้งในด้านการเรียนและปัญหาด้านอื่นๆ ตามวัย ทุกโรงเรียนจึงจำเป็นต้องมีครูแนะแนวเพื่อทำหน้าที่นี้ แต่ในความเป็นจริงแล้ว หลายโรงเรียนในเขตพื้นที่การศึกษาต่างๆ ยังขาดครูแนะแนวทั้งเชิงปริมาณ และคุณภาพ โดยพบ 5 ปัจจัยที่ส่งผลต่อการขาดครูแนะแนว คือ
1. ความเชื่อผิดๆ ที่คิดว่าครูทุกคน คือครูแนะแนว
2. การไม่ให้ความสำคัญต่อการบรรจุครูแนะแนวที่มีคุณวุฒิโดยตรงแต่เน้นบรรจุสาขาอื่นๆ
3. ไม่มีมาตรฐานการกำหนดสัดส่วนครูแนะแนวต่อนักเรียน
4. สถาบันผลิตครู เลิกผลิตครูแนะแนวหรือผลิตน้อยลง เพราะไม่มีงานรองรับ และ
5. การแก้ปัญหาโดยการ ให้เรียนวิชาเอกจิตวิทยาการแนะแนวคู่กับวิชาอื่น ทำให้ความเข้มข้นน้อยลง
แม้ว่าทุกโรงเรียนจะประสบปัญหาทั้งด้านปริมาณและคุณภาพ แต่โรงเรียนก็ไม่สามารถเพิกเฉยละเลยต่อการให้คำปรึกษาเด็กได้ จึงสรรหาครูในโรงเรียนมาทำหน้าที่ครูแนะแนวกรณีที่โรงเรียนนั้นไม่มีครูแนะแนวหรือมีในสัดส่วนที่ไม่เพียงพอต่อการให้บริการ เพราะหากนักเรียนได้รับการแนะแนวที่ถูกต้อง ก็จะรู้จักและสามารถพัฒนาตนเองให้ไปตามความถนัดของตน ตลอดจนสามารถดำเนินชีวิตให้เป็นประโยชน์ต่อตนเองและผู้อื่น สอดคล้องกับปรัชญาของการแนะแนว คือ การให้คำปรึกษาเป็นหัวใจสำคัญของการแนะแนว
แบบประเมิน : บุคลิกภาพของครูแนะแนว (pdf) แบบประเมินตนเองของครูแนะแนว (ออนไลน์)
ครูแนะแนวที่นักเรียนกล้าขอคำที่ปรึกษา
ทักษะที่จำเป็นและมีประโยชน์ที่สุดของครูแนะแนวเพื่อดูแลช่วยเหลือนักเรียน คือ ทักษะการให้คำปรึกษา ซึ่งโดยปกติแล้วเวลานักเรียนพบปัญหานักเรียนมักจะเลือกปรึกษา เพื่อน พ่อแม่ และครูที่ปรึกษา ตามลำดับ ครูที่นักเรียนขอคำปรึกษาไม่ว่าจะเป็นครูแนะแนวโดยตรงหรือไม่ก็ตามถือว่าเรากำลังปฏิบัติงานด้านแนะแนวให้แก่นักเรียน
ตามสภาพจริงของสถานการณ์ภายในโรงเรียน พบว่า จำนวนนักเรียนที่ขอคำปรึกษาจากครูแนะแนวมีจำนวนน้อยเมื่อเทียบกับจำนวนนักเรียนทั้งหมดของแต่ละโรงเรียน ด้านตัวครูผู้ทำหน้าที่แนะแนวเองก็มีข้อจำกัดด้านบุคลิกภาพ และด้านทักษะการให้คำปรึกษาตามที่นักเรียนต้องการ ส่งผลกระทบต่อการใช้บริการของแนะแนว
เพื่อพัฒนากระบวนการแนะแนวให้สอดคล้องกับความต้องการของนักเรียน ครูแนะแนวจำเป็นต้องมีบุคลิกภาพและทักษะที่นักเรียนเข้าถึง รู้สึกและสัมผัสได้ ดังนี้ ครูแนะแนวที่นักเรียนเข้าถึงได้
3. สถานการณ์จำลองการให้คำปรึกษา
กิจกรรมที่ 3.1
1. สมมุติว่าท่านเป็นนักเรียนในยุคนี้ท่านคิดว่าท่านจะเผชิญปัญหาอะไรบ้าง ให้เขียนเป็นข้อๆ โดยไม่ต้องระบุสาเหตุ (10 นาที)
2. ให้ท่านตั้งโจทย์เพื่อขอคำปรึกษาจากครูแนะแนว 3 ข้อ (10 นาที)
กิจกรรมที่ 3.2
1. เข้ากลุ่ม 3 คน ผลัดเปลี่ยนกัน เป็นผู้ปรึกษา ผู้ให้คำปรึกษาและผู้บันทึกการให้คำปรึกษาโดยใช้การสังเกตตามรายการนี้
(20 นาที)
2. ทุกกลุ่มดูเทปบันทึกการให้คำปรึกษาแล้วประเมินผู้ให้คำปรึกษา ตามสภาพจริงโดยใช้แบบสังเกตการให้คำปรึกษา
(20 นาที)
แหล่งอ้างอิง
http://www.moe.go.th/moe/th/news/detail.php?NewsID=35416&Key=hotnews